วันอังคารที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2555

กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย

กลุ่มการใช้งานทางด้านกราฟิกและมัลติมีเดีย
                        ซอฟแวร์กลุ่มนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยจัดการด้านงานกราฟิกและมัลติมีเดีย เพื่อให้งานง่ายขึ้น เช่น ใช้ตกแต่ง วาดรูป ปรับเสียง ตัดต่อภาพเคลื่อนไหว และการสร้างและออกแบบเว็บไซต์ ตัวอย่างเช่น
    โปรแกรมงานออกแบบ อาทิ Microsoft Visio Professional
    โปรแกรมตกแต่งภาพ อาทิ CorelDRAW, Adobe Photoshop
    โปรแกรมตัดต่อวิดิโอและเสียง อาทิ Adobe Premiere, Pinnacle Studio DV              
            โปรแกรมสร้างสื่อมัลติมีเดีย อาทิ Adobe Authorware, Toolbook Instructor, Adobe Director
   โปรแกรมสร้างเว็บ อาทิ Adobe Flash, Adobe Dreamweaver
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
กลุ่มการใช้งานบนเว็บและการติดต่อสื่อสาร
            โปรแกรมส่งข้อความด่วน (Instant Messaging) อาทิ MSN Messenger/ Windows Messenger, ICQ
            โปรแกรมสนทนาบนอินเทอร์เน็ต อาทิ PIRCH, MIRCH
ความจำเป็นของการใช้ซอฟต์แวร์
            การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้ว่าคอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก
เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษา คอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวนี้เรียกว่าภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมายบางภาษามีความเหมาะสมกับการใช้สั่งงานการ- คำนวณทางคณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางด้านการ
จัดการข้อมูล
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์  เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทำงาน มนุษย์จะต้องบอกขั้นตอนวิธีการให้คอมพิวเตอร์ทราบ การที่บอกสิ่งที่มนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทำงานได้อย่างถูกต้อง จำเป็นต้องมีสื่อกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจำวันแล้ว เรามีภาษาที่ใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และปฏิบัติตามจะต้องมีสื่อกลางสำหรับการติดต่อเพื่อให้คอมพิวเตอร์รับรู้เราเรียกสื่อกลางนี้ว่า ภาษาคอมพิวเตอร์
ภาษาคอมพิวเตอร์ในแต่ละยุคประกอบด้วย
ภาษาเครื่อง (Machine Languages)
      เนื่องจากคอมพิวเตอร์ทำงานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์
ใช้ตัวเลข 0 และ 1 นี้เป็นรหัสแทนคำสั่งในการสั่งงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคำสั่งโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคำสั่งและใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์ว่าภาษาเครื่อง การใช้ภาษาเครื่องนี้ถึงแม้คอมพิวเตอร์จะเข้าใจได้ทันทีแต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเข้าใจและจดจำได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอื่นที่เป็นตัวอักษร
ภาษาแอสเซมบลี (Assembly Languages)
      เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 2 ถัดจากภาษาเครื่อง ภาษาแอสเซมบลีช่วยลดความยุ่งยากลงในการเขียนโปรแกรมเพื่อติดต่อกับคอมพิวเตอร์ 
   แต่อย่างไรก็ตามภาษาแอสเซมบลีก็ยังมีความใกล้เคียงภาษาเครื่องอยู่มาก และจำเป็นต้องใช้ตัวแปลภาษาที่เรียกว่าแอสเซมเบลอร์(Assembler) เพื่อแปลชุดภาษาแอสเซมบลีให้เป็นภาษาเครื่อง

ภาษาระดับสูง (High-Level Languages)
                        เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ในยุคที่ 3 เริ่มมีการใช้ชุดคำสั่งที่เรียกว่า Statements ที่มีลักษณะเป็น
ประโยคภาษาอังกฤษ ทำให้ผู้ที่เขียนโปรแกรมสามารถเข้าใจชุดคำสั่งเพื่อสั่งให้คอมพิวเตอร์ทำงานง่ายขึ้น ผู้คนทั่วไปสามารถเรียนรู้และเขียนโปรแกรมได้ง่ายขึ้น เนื่องจากภาษาระดับสูงใกล้เคียงภาษามนุษย์ ตัวแปลภาษาระดับสูงเพื่อให้เป็นภาษาเครื่องนั้นมีอยู่ 2 ชนิด ด้วยกัน คือ คอมไพเลอร์ (Compiler) และ อินเทอร์พรีเตอร์ (Interpreter)
คอมไพเลอร์ จะทำการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงทั้งโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องก่อน แล้วจึงให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามภาษาเครื่องนั้น อินเทอร์พรีเตอร์ จะทำการแปลทีละคำสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทำตามคำสั่งนั้น เมื่อทำเสร็จแล้วจึงมาทำการแปลคำสั่งลำดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรี เตอร์จึงอยู่ที่การแปลทั้งโปรแกรมหรือแปลทีละคำสั่ง

                                ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต




การทำงานของระบบNองเครือข่ายคอมพิวเตอร์etwork และ  Internet
โครงสร้างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
1.เครือข่ายเฉพาะที่()
 เป็นเครือข่ายที่มักพบเห็นในองค์กรโดยส่วนใหญ่ลักฟษณะของการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เป็นวงLAN จะอยู่ในพื้นที่ใกล้ๆกัน เช่น อยู่ภายในอาคาร หรือ หน่วยงานเดียวกัน
2.เครือข่ายเมือง(Metropolitan Area Network: MAN)
 เป็นกลุ่มของเครือข่าย LAN ที่นำมาเชื่อมต่อกันเป็นวงจรที่ใหญ่ขึ้น ภายในบริเวรพื้นที่ใกล้เคียงกันเช่น ในเมืองเดียวกัน เป็นต้น
3.เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network: WAN)
เป็นเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้นในอีกระดับหนึ่ง โดยเป็นการรวมเครือข่าย LAN และ MAN มาเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายเดียว ดังนั้นเครือข่ายนี้จึงครอบคุมพื้นที่กว้าง โดยมีการครอบคุมไปทั่วประเทศซ หรือทั่วโลก เช่น อินเทอร์เน็ต ซึ่งถือเป็นเครือข่ายสาธารณะ ที่ไม่มีใครเป็นเจ้าของ


รูปแบบโคนงสร้างเครือข่าย(Network Topology)
การจัดระบบการทำงานของเครือข่าย มีรูปแบบโครงสรางของเครือข่าย อันเป็นการจัดวางคอมพิวเตอร์และการเดินสายสัญญาณคอมพิวเตอร์ในเครือข่าย รวมถึง
หลักการไหลเวียนของข้อมูลในเครือข่ายด้วย โดยแบงโครงสร้างเคือข่ายหลักได้ 4 แบบ คือ


            



















 1. แบบดาว     เป็นแบบการต่อสายเชื่อมโยงโดยการนำสถานีต่างๆมาต่อร่วมกันกับหน่วยสลับสายกลาง กสรติดต่อสื่อสารระหว่างสถานีจะทำได้ด้วยการติดต่อผ่านทางวงจรของหน่วยสลับสายกลาง  การทำงานของกน่วยสลับสายกลาง

ลักษณะการทำงานของเครือข่ายแบบดาว

เป็นการเชื่อมโยงการติดต่อสื่อสารที่มีลักษณะคล้ายรูปดาวหลายแฉก โดยมีสถานีกลาง หรือฮับเป้นเป็นจุดผ่านการติดต่อกันระหว่างทุกโหนดในเครือข่าย สถานีกลางจึงมีหน้าที่เป็นศูนญ์ควบคุมเส้นทางการนื่อสารทั้งหมด นอกจากนี้สถานีกลางยังทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางคอยจัดส่งข้อมูลให                  กับโหนดปลายทางอีกด้วย การสื่อสารภายในเครือข่ายแบบดาวจะเป?นแบบ 2 ทิศทางโดยจะมีอนุญาติให้มีเพียงโหนดเดียวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายได้ จึงไม่มีโอกาศที่หลายๆโหนดจะส่งข้อมูลเข้าสู่เครือข่ายในเวลาเดียวกันเพื่อป้องกันการชนของสัญญาณข้อมูลเครือข่ายแบบดาว เป็นรูปแบบเครือข่ายหนึ่งที่เป็นที่นิยมใช้กานในปัจจุบัน         

การเชื่อมต่อแบบวงแหวน (RING TOPOLOGY) เป็นการเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นรูปวงแหวนหรือแบบวนรอบ โดยสถานีแรก เชื่อมต่อกับสถานีสุดท้าย การรับส่งข้อมูลในเครือข่ายจะต้องผ่านทุกสถานี โดยมีตัวนำข่าวสาร วิ่งไปบนสายสัญญาณ ของแต่ละสถานี ต้องคอยตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมา ถ้าไม่ใช่ของตนเอง ต้องส่งผ่านไปยังสถานีอื่นต่อไป ตัวอย่างเช่น การเชื่อมต่อของ IBM Token Ring ที่ต้องมีตัวนำข่าวสาร หรือ Token นำข่าวสารวิ่งวนไปรอบสายสัญญาณหรือ Ring แต่ละสถานีจะคอยตรวจสอบ Token ว่าข่าวสารที่นำมาด้วยเป็นของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็จะรับข่าวสารนั้นไว้ แล้วส่ง Token ให้สถานีอื่นใช้ต่อไปได้
ข้อดี ของการเชื่อมต่อแบบนี้คือ ใช้สายส่งสัญญาณน้อยกว่าแบบดาว เหมาะกับการเชื่อมต่อ ด้วยสายสัญญาณใยแก้วนำแสง เพราะส่งข้อมูลทางเดียวด้วยความเร็วสูง
ข้อเสีย คือถ้าสถานีใดเสีย ระบบก็จะไม่สามารถทำงานต่อไปได้ จนกว่าจะแก้ไขจุดเสียนั้น และยากในการตรวจสอบว่ามีปัญหาที่จุดใด และถ้าต้องการเพิ่มสถานีเข้าไป จะกระทำได้ยาก

3. เครื่อข่ายแบบบัสเป็นเครื่อข่ายที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆด้วยสายเคเบิ้ลยาวต่อเนื่องไปเรื่อยๆ โดยจะมีอุปกรณ์ที่เป็นตัวเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์กับสายเคเบิ้ล ในการส่งข้อมูล จะมีคอมพิวเตอร์พียงตัวเดี๋ยวเท่านั้นที่สามารถส่งข้อมูลในช่วงเวลาหนึ่งๆ การจัดส่งข้อมูลวิธีนี้จะต้องกำหนดวิธีการที่จะไม่ให้ทุกสถานีส่งข้อมูลพร้อมกันเพราะจะทำให้ข้อมูลชนกัน วิธีการที่ใช้อาจเเบ่งเวลาหรือให้แต่ละสถานีใช้ความถี่สัญญาณที่แตกต่างกัน ในการติดตั้งเครือข่ายแบบบัสนี้ คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์แต่ละชนิด


ลักษณะการทำงานเครื่องข่ายแบบบัส
  อุปกรณ์ทุกชิ้นหรือดหนดทุกโหนดในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า บัส เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปหยังอีกโหนดหนึ่งภายในเครือข่ายจะต้องตรวจสอบให้เเน่ใจก่อนว่าบัสว่างหรือไม่ ถ้าหากไม่ว่างก็ไม่สามารถส่งข้อมูขออกไปได้ ทั้งนี้เพราะสายสื่อสารหลักมีเพียงสายเดี๋ยว ในกรณีที่มีข้อมูลวิ่งมาในบัส ข้อมูลนี้จะวิ่งผ่านโหนดต่างๆไปเรื่อยๆ ในขณะที่แต่ละโหนดจะคอยตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านมาว่าเป็นข้อมูลของตนเองหรือไม่ หากไม่ใช่ก็ปล่อยข้อมูลนั้นวิ่งผ่านไป

4.เครือข่ายแบบต้มไม้ (Terr Nrtwork)


การประยุกต์ใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบเครือข่ายทำให้เกิดการสื่อสาร และการแบ่งปันการใช้ทรัพยากรระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งจะหมายความรวมถึงการสื่อมารและการแบ่งปันการใช้ข้อมูลระหว่างบุคคลด้วยซึ่งทั้งนี้คือระบบงานของเครือข่าย

รูปแบบการใช้งานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ระบบเครือข่ายแบ่งตามลักษณะการทำงาน ได้เป็น 3 ประเภทคือ
1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง(Cent)
2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to-peer
3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/Server
 
1.ระบบเครือข่ายแบบรวมศูนย์กลาง เป็นระบบที่มีเครื่องหลักเพียงเครื่องเดียวที่ใช้ในการประมวลผล ตั้งอยู่ที่ศูนย์กลางและมีการเชื่อมต่อกันโดยตรง เพื่อให้เครื่องเครื่องเทอร์มินอลสามารถเข้าใช้งาน โดยส่งคำสั่งต่างๆ มาประมวลผลที่เครื่องกลางซึ่งมักเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์


2.ระบบเครือข่ายแบบ Peer-to-peerแต่ละสถานีงานบนระบบเครือข่ายPeer-to-peer จะมีความเทียบเท่ากันที่จะสามารถที่จะแบ่งปันทรัพยากรให้แก่กันและกันได้ เช่น การใช้เครื่องพิมพ์หรือแฟ้มข้อมูลร่วมกันในเครือข่าย

3.ระบบเครือข่ายแบบ Client/ServerระบบClient/Serverสามารถสับสนุให้มีดครื่องลูกข่ายได้เป็นจำนวนมาก และสามารถเชื่อต่อกับเครื่องคอมพิวเตอร์ ได้หลายสถานี ทำงานโดยมีเครื่องServer ที่ให้บริการเป็นอย่างน้อย 1 เครื่อง และมีการบริหารจัดการทรัพยากรต่างๆจากส่วนกลาง ซึ่งคล้ายกับระบบเครื่อข่ายแบบรวมศูนย์กลาง แต่สิ่งที่แตกคต่างกันน้นก็คือ เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการ ระบบClient/Serverในราคาที่ไมแพง
    ระบบเครือข่ายแบบClient/Server เป็นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูงสนับสนุนการทำงานแบบMultitrocessor สามารถพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถ

ระบบเครือข่ายแบบ clien / server  เป้นระบบที่มีความยืดหยุ่นสูง สนับสนุนการทำงานแบบ Multiprocessor สามารภเพิ่มขยายขนาดของจำนวนผู้ใช้ได้ตามต้องการ นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มจำนวนเครื่อง server สำหรับให้บริการต่างๆเพื่อช่วยกระจายภาระของระบบได้ส่วนข้อเสียของระบบนี้ก็คือมีความยุ่งยากในการติดตั้งมากกว่าระบบ peer to peer รวมทั้งต้องการบุคลากรที่มีเชี่ยวชาญอีกด้วย


ซอฟแวร์(Softwere)

ซอฟแวร์(Softwere)

               คือ การลำดับขั้นตอนการทำงานของคำสั่งที่จะทำหน้าที่สั่งคอมพิวเตอร์ว่าให้ทำอะไร เป็นชุดของโปรแกรมหลายๆโปรแกรมนำมารถทำงานได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ตามที่ต้องการ เรามองไม่เห็นหรือสัมผัสไม่ได้แต่เราสารมารถสร้าง จัดเก็บ และนำมาใช้งานหรือเผยแพร่ได้ด้วยสือหลายชนิด เช่น แผ่นซีดี แผ่นบันทึก แฟล็ชไดร์ฟ ฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น


หน้าที่ของซอฟแวร์(Softwere)

                ทำหน้าที่เป็นตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้คอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟแวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำอะไรได้เลย วแฟแวร์สำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกได้หลายประเภท

ซอฟแวร์แบ่งออกเป็น 3 ประเภท

-ซอฟแวร์ระบบ(System Software)
-ซอฟแวร์ประยุกต์ (Application Software)
-ซอฟแวร์ใช้งานเฉพาะ

1.ซอฟแวร์ระบบ (System Software)

   เป็นระบบโปรแกรมที่บริษัทผู้ผลิสร้างขึ้นมาเพื่อใช้จักการกับระบบ คือ ดำเนินงานพื้นฐานต่างๆของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นำข้อมูลไปแสดงบนจอภาพหรือนำออกไปยังเครื่องพิมพ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจำสำรอง
     System Software  หรือโปรแกรมระบบที่รู้จักกันดีก็คือ DOS,Windows,Unix,Linux รวมทั้งโปรแกรมแปลคำสั่งที่เขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic,Fortran,Pascal,Cobol,C เป็นต้น
     นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้งานการตรวจสอบระบบเช่น Norton's Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสำหรับระบบด้วยเช่นกัน

หน้าที่ของซอร์ฟแวร์ System Software

1.ใช้ในการจัดการหน่วยรับเข้าและหน่วยส่งออก เช่น รับรู้การกดแป้นต่างๆบนแผนแป้นอักขระ ส่งรหัสตัวอักษรออกทางจอภาพหรือเครื่องพิมพ์ ติดต่อกับอุปกรณ์รับเข้าและส่งออกอื่นๆ เช่น เมาส์ ลำโพง เป็นต้น
2.ใช้ในการจัดการหน่วยความจำ เพื่อนำข้อมูลจากแผ่นบันทึกมาบรรจุยังหน่วยความจำหลัก หรือในทำนองกลับกัน คือนำข้อมูลจากหน่วยความจำหลักมาเก็บไว้ในแผ่นบันทึก
3.ใช้เป็นตัวเชื่อมต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น เช่น การขอดูรายการในสารบบ(directiry)ในแผ่นบันทึก การทำสำเนาแฟ้มข้อมูล ซอร์ฟแวร์ระบบพื้นฐานที่เห็นกันทั่วไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการและตัวแปลภาษา

ประเภทของซอฟต์แวร์ระบบ  แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System:OS)
2.ตัวแปลภาษา

1.ระบบปฏิบัติการ (Operating System:OS)หรือ โอ เอส

             เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องเป็นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่น ดอส วินโดว์ ยูนิกซ์ ลีนุกซ์ และแมคอินทอช เป็นต้น
               
              1.ดอส (Disk Operating System : DOS) เป็นซอฟต์แวร์จักระบบงานที่พัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คำสั่งเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวร์ที่รู้จักกันดีในหมู่ไมโครซอฟต์คอมพิวเตอร์ในอดีต ปัจจุบันระบบปฏิบัติการดอสนั้นมีการใช้งานน้อยมาก
              2. วินโดวส์ (windows)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาต่อจากดอส โดยให้ผู้ใช้สามารภสั่งงานได้จากเมาส์มากขึ้นแทนการใช้แผงแป้นอักขระเพียงอยางเดียว นอกจากนี้ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ยังสามารถทำงานำด้หลายอย่างพร้อมกัน โดยงานแต่ล่ะงานจะอยู่ในกรรอบช่องหน้าตางบนจอภาพ ทำให้สามารถใช้งานคอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น ระบบปฏิบัติการคอมหิวเตอร์จึงได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน
              3. ยูนิกซ์ (Unix)เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาตั้งแต่ครั้งใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่เป็นเทคโนโลยีแบบเปิด (Open System) ซึ่งเป็นแนวคิดที่ผู้ใช้ไม่ต้องผูกติดกับระบบใดระบบหนึ่งหรืออุปกรณ์ที่มียี่ห้อเดียวกันยูนิกซ์ยังถูกออกแบบมาเพื่อตอบสนองการใช้งานในลักษณะที่มีผู้ใช้(multitasking)ระบบปฏิบัติการยูนิกซ์จึงนิยมใช้กับเครื่องที่เชื่อมโยงเครือข่าย เพื่อใช้งานร่วมกันหลายๆเครื่องพร้อมกัน
                4. ลีนุกซ์(linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนามาจากระบบยูนิกซ์ เป็นระบบซึ่งมีการแจกจ่ายโปรแกรมต้นฉบับให้นักพัฒนาช่วยกันพัฒนาคุณสมบัติของระบบปฏิบัติการลีนุกซ์เป็นที่นิยมกันมากขึ้นในปัจจุบัน เนื่องจากมีโปรแกรมประยุก์ต่างๆ ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์ จำนวนมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในในกลุ่มของกูส์นิว (GNU) และสิ่งที่สำคัญคือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทแจกฟรี (Fee Ware)ผู้ใช้สามารถใช้ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
                    ระบบลีนุกซืสมารถทำงานำด้บนระบบหลายตระกูล เช่น อินเทล () ดิจิทอลและซันสปาร์ค ถึงแม้ว่าในขณะนี้ลีนุกซ์ยังไม่สามารถแทนระบบปฏิบัติการวินโดวส์บนพีซีได้ทั้งหมดก็ตาม แต่ผู้ใช้จำนวนมากได้หันมาใช้และช่วยพัฒนาโปรแกรมประยุกต์บนลีนุกซ์กันมากขึ้น
                 5.แมคอินทอช เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์  แมคอินทอชส่วนมากนำไปใช้งานด้านกราฟฟิก ออกแบบและจัดแต่งเอกสาร นิยมใช้ในสำนักพิมพ์ต่างๆ
         นอกจากระบบปฏิบัติการที่กล่ามาแล้วยังมีระบบปฏิบัติการอีกมากมาย เช่น ระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ทำงานเป็นระบบ เช่น ระบบปฏิบัติการเน็ตแวร์ นอกจากนี้ยังมีระบบปฏิบัติการที่ใช้งานเฉพาะเครื่องคอมพิวเตอร์ ที่สร้างขึ้นมาเพื่องานใดงานหนึ่งโดยเฉพาะ ซึ่งส่วนใหญ่จะใช้ในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ในสถาบันศึกษา

   ระบบปฏิบัติการสามารถจำแนกออกเป็น 3 ชนิด
1. ประเภทใช้งานเดียว() ระบบปฏิบัติการประเภทนี้จะกำหมดให้เครื่องคอมพิวเตอร์ใช้งานได้ครั้งล่ะหนึ่งงานเท่านั้น ใช้ในเครื่องขนาดเล็กอย่างไมโครคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบปฏิบัติการดอส เป็นต้น  
2. ใช้หลายงาน (Multi-tasking) ประบบปฏิบัติการประเภทนี้สามารถควบคุมการทำงานได้หลายงานในขณะเดียวกัน ผู้ใช้สามรถทำงานกับซอฟต์แวร์ประยุกต์ได้หลายชนิดในเวลาเดียวกัน เช่น ระบบปฏิบัติการ Windows98ขึ้นไป และ Unix เป็นต้น
3.   ประเภทใช้งานหลายคน (Multi-user) ในหน่วยงานบางแห่งอาจใช้คอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่ทำหน้าที่ประมวลผล ทำให้ในขณะใดขณะหนึ่งมีผู้ใช้คอมพิวเตอร์พร้อมหันหลายคน แต่ละคนจะมีสถานีงานของตัวเองเชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์จึงต้องใช้ระบบปฏิบัติการที่มีความสามารถสูง เพื่อให้ผู้ใช้ทุกคนสามารถทำงานเสร็จในเวลา เช่น ระบบประติบัติการWindows NT และ Unix เป็นต้น   


2.ตัวแปลภาษา
           การพัฒนาซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูงเพื่อแปลภาษษระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง
ภาษาระดับสูงมีหลายภาษาซึ้งสร้างขึ้นให้ผู้เขียนโปรแกรมเชียนชุดคำสั่งได้ง่ายเข้าใจได้ และเพื่อให้สามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้
           ภาษาระดับสูงที่พัฒนาขึ้นทุกภาษาต้องมีตัวแปลภาษา ซึ้งภาษาระดับสูงได้แก่  ภาษาBasic,Fortran,Pascal,Cobol,C และภาษาโลโก เป็นต้น
          นอกจากนี้ ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใชช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมาก ได้แก่ Fortran,Cobol และภาษาอาร์พีจี

ซอฟต์แวร์ประยุกต์(Application Softwere)
ซอฟต์แวร์ที่ใช้ทำงานร่วมกับคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ทำงานเฉพาะด้าน เช่น การจัดการรพิมพ์รายงาน การนำเสนองาน การจัดทำบัญชี การตกแต่งภาพ หรือการออกแบบเว็บไซต์ เป็นต้น

ประเภทของซอฟต์แวร์ประยุกต์ แบ่งไปน 2ประเภท คือ
1. ซอฟแวร์ที่พัฒนาขึ้นใช้เองโดยเฉพาะ(proprrietary Software)
2.ซอฟต์แวร์ที่หาซื้อได้ทั่วไป (Packaged Software)
มีทั้งโปรแกรมเฉพาะ(Customized  Packaged)และโปรแกรมมาตรฐาน(Standard Packaged)

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์

คอมพิวเตอร์ หมายถึง เครื่องมือหรืออุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ที่ทำงานด้วยคำสั่ง ชุดคำสั่งหรืโปรแกรมต่างๆ สามารถเชื่อมต่อกันเป็นเครือข่ายได้หลายแบบ ลักษณะเด่นของคอมพิวเตอร์คือมีศักยภาพสูงในการคำนวณประมวณผลข้อมูล ทั้งที่เป็นตัวเลขและรูปภาพ ตัวอักษร และเสียง

ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
 คอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์  หมายถึง ส่วนที่ประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ แบ่งออกเป็น 5 ส่วน

ส่วนที่ 1

หน่วยรับข้อมูลเข้า (Input Unit) เป็นวัสดุอุปกรณืที่นำมาเชื่อต่อ ทำหน้าที่ป้อนสัญญาณเข้าสู่ระบบ เพื่อกำหมดให้คอมพิวเตอร์ทำงานตามความต้องการได้แก่
-แป้นอักขระ(Keyboard)
-แผ่นซีดี(CD-Rom)
-ไมโครโฟน(Microphone)
เป็นต้น

ส่วนที่ 2 

หน่วยประมวลผลกลาง (Centeal proessing Unit)
              ทำหน้าที่เกี่ยวกับการคำนวณทั้งทางตรรกะและทางคณิตศาสตร์ รวมถึงการประมวลข้อมูลตามคำสั้งที่ได้รับ

ส่วนที่ 3

 หน่วยความจำ (Memory Unit)
                ทำหน้าที่เก็บข้อมูลหรือคำสั่งที่ส่งมาจากหน่วยรับข้อมูลเพื่อเตรียมส่งไปประมวลผลกลางและเก็บผลรับได้จากการประมวลผลแล้วเพื่อเตรียมไปยังหน่วยแสดงผล

ส่วนที่ 4

หน่วยแสดงผล(Output Unit)
                   ทำหน้าที่แสดงข้อมูลคอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล หรือผ่านการคำนวณแล้ว

ส่วนที่ 5

อุปกรณ์ต้อพ่วงอื่นๆ (peripheral Equipment)
               เป็นอุปกรณืที่นำมาต่อพ่วงเข้ากับเครื่องคอมพิวเตอรืเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น เช่น โมเด็ม (modem)  แผงวงจรเชื่อมต่อเครือข่าย เป็นต้น

ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์

1.มีความเร็วในการทำงานส่ง สามารถประมวลผลคำสั่งได้อย่างรวดเร็วในชั่ววินาที จึงใช้งานคำนวณได้อย่างรวดเร็ว
2.มีประสิทธิภาพในการทำงานสูง สามารถทำงานได้ตลอด 24 ชั่วโมง ใช้แทนกำลังคนได้มาก
3.มีความถูกต้องแม่นยำ ตามโปรแกรมสั่งงานและมีข้อมูลที่ใช้
4.เก็บข้อมูลได้มาก ไม่เปลืองเนื้อที่เก็บเอกสาร
5.สามารภโอนย้ายข้อมูลจากเครื่องนึงไปยังเครื่องนึงผ่านระบบเครือข่ายได้อย่างรวดเร็วช่วยอำนวยความสะดวกในการใช้งาน

ระบบคอมพิวเตอร์
            
               หมายถึง กรรมวิธีที่คอมพิวเตอร์ทำการใดๆกับข้อมูลที่อยู่ในรูปแบบที่เป็นประโยชน์ตามความประสงค์ของผู้ใช้งานให้มากที่สุด เช่น ระบบเสียภาษี ระบบทะเบียนราษฎ์ ระบบทะเบียนการค้า ระบบเวชระเบียนของโรงพยาบาล เป็นต้น

          การเข้าถึงข้อมูลเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้โดยการตรวจสอบจากการประมวลผลของระบบคอมพิวเตอร์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
  ระบบคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพจะประกอบด้วย 4 ส่วน ดังนี้

1. ฮาร์แวร์ (Hardware) หรือส่วนเครื่อง
2. ซอฟแวร์ หรือส่วนชุดคำสั่ง
3. ข้อมูล
4.บุคคลากร

ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
                หมายถึง ตัวเครื่องและอุปกรณ์ส่วนต่างๆที่เราสามารถสัมผัสและจับต้องได้ ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย 4 ส่วน สำคัญ ดังนี้

1.ส่วนประมวลผล(Processor)
2.ส่วนความจำ(Memory)
3.อุปกรณ์รับเข้าระส่งออก(Input-Output Devices)
4.อุปกรณืหน่วยเก็บข้อมูล(Storage Devices)

1.ส่วนประมวลผล(Processor) CPU

          เป็นอุปกรณ์ที่เปรียบเสมือนสมอง  มีหน้าที่หลักในการควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์ ประมวลผลและเปรียบเทียบ้อมูลโดยทำการเปลียนแปลงข้อมูลดิบและแปลงให้เป็นสารสนเทศที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ความสามารถของ ซีพียู พิจารณาจากความเร็วของการทำงาน การรับส่งข้อมูลอ่านและเขียนข้อมูลในหน่วยความจำ ความเร็วของ ซีพียูขึ้นอยู่กับตัวให้จังหวะที่เรียกว่า สัญญาณนาฬิกาเป็ฯความเร็วของจำนวนรอบสัณญาณในหนึ่งวินาที มีหน่ววยเป็น เฮิร์ต(Hertz) เช่น สัญญาณความเร็ว 1 ล้านรอบใน 1 วินาที เทียบเท่าความเร็วสัญญาณนาฬิกา 1 จิกะเฮิร์ต(1GHz)


ส่วนที่ 2 หน่วยความจำ(Memory)     จำแนกออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้

1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)
2.หน่วยความจำสำรอง(Secondary Memory)

1. หน่วยความจำหลัก (Main Memory)

            เป็นหน่วยเก็บข้อมูลและคำสั่งต่างๆของเครื่องคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ชุดความจำของข้อมูลที่สามารถบอกตำแหน่งที่เก็บข้อมูลหริอคำสั่ง ข้อมูลจะถูกนำไปเก็ฐไว้และสามารถนำออกมาใช้ในการประมวลผล ภายหลัง โดย ซีพียู ทำหน้าที่ในการนำข้อมูลเข้าและออกจากหน่วยความจำ
           การทำงานของคอมพิวเตอร์ในหน่วยความจำหลักต้องใช้พื้นที่ของหน่วยความจำในการทำงานประมวลผลและเก็บข้อมูล ขนาดของความจุของหน่วยความจำ คำนวณได้จากค่าจำนวณพื้นที่ที่สามารถใช้ในการเก็บข้อมูล จำนวนพื้นที่คือจำนวนข้อมูล และขนาดของโปรแกรมที่สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุด พื้นที่หน่วยความจำมีมากจะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้เร็วมากยิ่งขึ้น

หน่วยประมวลผลกลาง(CPU)
             
           หน่วยประมวลผลกลางCPU มีความหมายทางด้านฮาร์ดแวร์ 2 อย่าง คือ
1. ชิป(chip) ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของคอมพิวเตอร์
2.ตัวกล่องเครื่องที่มี CPU บรรจุอยู่

1.หน่วยความจำหลัก
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ แรม(RAM)และ รอม(ROM)

1.1หน่วยความจำแบบ แรม
(RAM=Random Access Memory)
เป็นหน่วยความจำที่ต้องอาศัยกระแสไฟฟ้าเพื่อรักษาข้อมูล ข้อมูลหรือแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ชั่วคราวขณะทำงาน ข้อมูลที่อยู่ในหน่วยความจำจะอยู่ได้นานจนกว่าจะปิดเครื่องหรือไม่มีกระแสไฟฟ้าให้กับเครื่องเราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า หน่วยความจำแบบลบเลือนได้(Volatile Memory )




1.2 หน่วยความจำแบบ "รอม"ROM=Read Only
เป็นหน่วยความจำที่ที่ใช้เก็บโปรแกรมหรือข้อมูลพื้นฐานเกียวกับคอมพิวเตอร์ ข้อมูลที่ถาวรไม่ขึ้นแบบไฟฟ้าที่ป้อนให้กับวงจร ที่ยอมให้ ซีพียู อ่านข้อมูลหรือโปรแกรมไปใช้งานอย่างเดียวไม่สามารถเขียนข้อมูลลงไปได้เก็บไว้โดยง่ายส่วนใหญ่ใช้เก็บโปรแกรมควาบคุม เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่าหน่วยความจำแบบไม่ลบเลือน (Nonvolatile Memory)



 หน่วยความจำรอง

คือ    หน่วยความจำรอง สามารถจัดเก็บข้อมูล และโปรแกรมไว้ใช้ในภายหลังได้  แม้จะปิดเครื่องคอมพิวเตอร์  ข้อมูลและโปรแกรมที่เก็บไว้  ไม่สูญหายหรือถูกลบทิ้ง
             นอกจากนี้ หน่วยความจำรอง  สามารถเพิ่มขนาดความจุได้ เนื่องจากหน่วยความจำหลักจะมีขนาดความจุจำกัด
             หน่วยความจำรอง สามารถเพิ่มขนาดความจุได้

            หน่วยประมวลผลจะเรียกใช้ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยความจำรอง  ได้จะช้ากว่า หน่วยความจำหลัก
1.มีหน้าที่ในการเก็บข้อมูลหรือโปรแกรม  เหมือนกับ หน่วยความจำหลัก แต่ต่างจากหน่วยความจำหลัก
2.ใช้ในการเก็บข้อมูลหรือสำรองข้อมูลเพื่อใช้ในอนาคต
3.เป็นสื่อในการส่งผ่านข้อมูลระหว่างเครื่องนึงไปยังงอีกเครื่องนึง

ตัวอย่าง หน่วยความจำรอง
    ฮาร์ดิส               แฮนดี้ไดส์              แผ่นดิส์                       
mp 4             mp 3


ประโยชน์ของหน่วยความจำสำรอง

             จะแก้ไขปัญหาการสูญหายของข้อมูลอันเนื่องมาจากไฟฟ้าดับเพราะข้อมูลต่างๆที่ส่งเข้ามาประมวลผล เมื่อเรียบร้อยแล้วผลลัพธ์ที่ได้จะถูกนำไปเก็บในหน่วยความจำหลักประเภทแรม หากปิดเครื่องหรือมีปัญหาทางไฟฟ้า อาจทำให้ข้อมูลสูญหายจึงจำเป็นต้องมีหน่วยความจำสำรอง เพื่อนำข้อมูลจากหน่วความจำแรมมาเก็บไว้ที่ใช้งานในเคื่องต่อไปหน่วยความจำประเภทนี้ส่วนใหญ่จะพบในรูปของสื่อที่ใช้ในการบันทึกข้อมูลภายนอก เช่น ฮาร์ดดิกส์ แผ่นบันทึก ซิปดิกส์  หน่วยความจำสำรองนี้ถึงจะไม่อยู่ในเครื่องคอมพิวเตอร์แต่เครื่องคอมพิวเตรอร์ก็ยังสามารถทำงานได้ปกติ

ส่วนแสดงผลข้อมูล

              คือส่วนที่แสดงข้อมูลจากสัญญาณไฟฟ้าในหน่วยประมวลผลกลางที่แสดงผลข้อมูลได้แ จอภาพ(Monitor) หริอ (Screen) เครืองพิมพ์(Printer) เคร่องพิมพ์ภาพ(Ploter) และ ลำโพง(Speaker) เป็นต้น